ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ปี ค.ศ.1815
1815 มีฝรั่งเศสด้วย
นโปเลียนสร้าง Impact ให้กับยุโรป “As a Whole”
1815 → Concert of Europe หรือ Congress of Vienna ถือเป็นระบบระหว่างประเทศอันแรก
Conclusion and Affirmation คือทำอย่างไรจะไม่ให้เกิดสิ่งเหล่า (Total War หรือ Major War) นี้ขึ้นมาอีก
สหประชาชาติเห็นด้วยกับสงคราม แต่ขอให้เลือกเป็นทางออกสุดท้าย (ถึงได้มี ข้อตกลงเจนนิว่า) “They did not ignore the power” → How to utilize the power for peace → โลกแห่ง Realpolitile (การเมืองว่าด้วยความเป็นจริง → หมายความว่าทุกประเทศมีผลประโยชน์ของตน หรือ National Interest แต่ต้องจบ!)
War makes state, State makes war.
Balance of Power → ระบบดังกล่าวต้องอิงอยู่กับการกระจายอำนาจ
Security Council → จีน, รัสเซีย, ฝรั่งเศส, อังกฤษ → คือผู้มีอำนาจที่แท้จริงในสหประชาชาติ
Pack Amaricana → กลุ่มนิยมชมชอบ ติดตามอเมริกา
Shared Goal → เป้าหมายร่วมกัน → อัตลักษณ์ของยุโรป (มี 3 อย่าง)
(ร่วม 100 ปีที่ไม่เกิด Total War)
สาเหตุที่ประสบความสำเร็จเพราะ
1. เป็นตัวแทนของสถาบันพระมหากษัตริย์
2. Professional Diplomats
3. แรงกดดันน้อย (เช่น ไม่มีนักข่าวออกมากดดัน)
1. ทางเศรษฐกิจ
2. ทางเทคโนโลยี
4. Geographic limit (ข้อจำกัดทางภูมิสาสตร์)
Liberal Revolution = การปฏิวัติแบบเสรี (แต่ไม่เกิดขึ้น ๒ ที่คือ อังกฤษ กับ รัสเซีย)
อังกฤษไม่เกิดเพราะมีการปรับตัวเร็ว
รัสเซียไม่เกิดเพราะคนไม่รู้เยอะ มีการกระจัดกระจายของชาวนาเยอะ

ปี ค.ศ.1914 – 1915 – 1919
Democratic Regime → Public Opinion
New actor, new geography
Empire bye bye → มหาอำนาจเปลี่ยนมือจาก อังกฤษ เป็น อเมริกา (สมัยคลองสุเอส)
League of nations (สันนิบาตชาติ)
1919 – 1941 เกิด ‘Isolationism’ (1929) สภา Congress ห้ามประธานาธิบดีของอเมริกาห้ามเข้าเป็นสมาชิกสันนิบาตชาติ
เพิร์ลฮาเบอร์คือกุญแจปลดปล่อย “Isolationism”

หนังสือ “Contemporary Security Study” Alan Collins
Realism’s basic shared assumption include that the international system is anarchic, power is a defining feature of the international system, and states are rational, unitary actor.
A key divide within the realism is between theories that focus on the structure of the international system and those that focus on state’s motives.
There is debate within structural realism over whether the international system creates a general tendency towards completion or whether instead cooperation is under some condition a state’s best strategy.
รัฐสำคัญ แต่ต้องคำนึงถึง None-state ข้ามชาติด้วย เช่น NGO

หนังสือของ แมคคิลีลี่ Machevillian พูดถึงเรื่อง Realism
The end justifies the mean.

Realism มักถูกวิจารณ์ดังนี้
เป็นเหตุผลให้มหาอำนาจอ้างในการสะสมอาวุธ
States เป็น rational จริงหรือเปล่า ?

Liberalism (เสรีนิยม)
มี ๒ ความหมาย
1. พรรคการเมืองในอเมริกา (อันนี้ไม่เอา)
2. สำนักความคิด
is basically optimistic about improving politics and making it safer.
อธิบายว่าทุกอย่างเป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำหรือผู้บริหารของรัฐ
Commercial Liberalism (เน้นการพาณิชย์ การค้า)
Human Rights (สิทธิมนุษยชน)
Democracy

International Organization (IO)
แยกเป็น ๒ อย่าง
1. หวังผลกำไร
2. ไม่หวังผลกำไร
หรือแยกเป็น
Directly relevant ซึ่งแยกเป็น
recommendation (อ่อนที่สุด, หรือไม่ทำก็ไม่มีมาตรการบังคับ)
directive
law
Indirectly relevant
การเป็นสมาชิกองค์กรระหว่างประเทศคือการรักษาประโยชน์ของประเทศที่ถูกที่สุด
การเข้าไปเป็นสมาชิกเป็นเรื่องผลประโยชน์ของชาติ
(กรณีอังกฤษกับ EU)ไม่เป็นองค์กรเหนือชาติ แต่เป็นองค์กรระหว่างชาติ
Alliance Theory = ทฤษฎีองค์กรระหว่างประเทศ
องค์กรระหว่างประเทศนอกจากเรื่องภูมิศาสตร์แล้วยังเป็นเรื่องการเมืองด้วย เช่น สมาชิก EU ทุกชาติก่อนเข้าเป็นสมาชิกต้องเป็นสมาชิก NATO ก่อน (เรื่องแปลกแต่คนไม่ค่อยพูดถึง)
ข้อพิจารณา EU ของมาการ์เร็ทเท็ดเชอร์
Widening ดี
Deepening ไม่ดี
ในมุมมองอื่น
Internationalism
Supranationalism
Agenda หลักของ ASEAN คือ agenda ทางเศรษฐกิจ
องค์กร ASEAN เหมือนขอแต่งงานกันแต่ไม่นอนด้วยกัน (มีมารยาทแบบ ASEAN way ใช้วิธีการคุยกันนอกรอบ)
Liberalism → ใช้คำว่า Revolving คือพัฒนาเปลี่ยนแปลงตลอด
การมีธรรมนูญทำให้มีสถานภาพเป็นบุคคล → เซ็นต์ FTA ได้
(ตัวอย่างฑูตอังกฤษ) สามารถผนวกและเจรจาได้ คุยได้ทุกเรื่องของชาติ กลาโหม เศรษฐกิจ เกษตร ทำให้ได้เปรียบในแง่การต่อรอง (มองเห็นภาพใหญ่)
มาตรา ๑๙๐ : จะคุยอะไรต้องผ่านรัฐสภา (เกิดขึ้นในรัฐธรรมนูญปี ๕๐)
การค้าจะบอกว่าเป็นเสรีเสมอ ไม่เป็นจริงเสมอไป เช่นในบางธุรกิจที่มีมูลค่าสูง เช่น Airbus กับ Boeing จะมีใครเข้าไปทำธุรกิจแข่งล่ะ ?

เงินสนับสนุน UN
ดร.อนันต์ ปัญญารชุน ได้รับมอบหมายให้ไปศึกษาการปรับเปลี่ยน UN
เหมาะสมที่สุดคือจ่ายตาม GDP

UN กับเรื่องสิทธิมนุษยชน
ส่วนที่สำคัญคือส่วนที่บอกว่าไม่แทรกแซงเรื่องภายในประเทศ
แต่ละเรื่องมาตรฐานในการดำเนินการของ UN จะแตกต่างกันมาก เป็นกรณีๆ ไป เช่น ในกรณีของแอฟริกาใต้ ไม่มีการคว่ำบาตทางเศรษฐกิจเพราะมหาอำนาจเชื่อว่าจะทำให้คนจนลำบากขึ้น แต่ในอิรักกลับคว่ำบาต
ทหารกับการเมือง (พี่สกรรจ์ ถามอาจารย์)
ทหารจะไม่ยุ่งกับการเมืองได้หรือไม่ ? ในความเป็นจริงคือไม่ได้ตราบใดที่ทหารยังคงเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด แต่ทหารไม่ควรฝักใฝ่พรรคการเมืองใดเด็ดขาด (ควรเป็นกรรมการ) ถ้าประชาชนจะฆ่ากัน ทหารต้องเข้ามา ทหารต้อง Independent
รัฐประหารชอบธรรมหรือ ? ชอบธรรมถ้ามีเหตุผลเพียงพอ เมื่อทำแล้วต้องคืนอำนาจแก่ประชาชน (ไม่เป็นผู้ถืออำนาจ/ไม่เป็นนายก)
พื้นที่ในการวิพากษ์วิจารณ์คือเรื่อง “ธรรมาภิบาล” คือ ซื้อของดี ด้วยวิธีที่ถูกต้อง คุ้มค่าที่สุด
รัฐคือผู้ผูกขาดในการใช้กำลัง (แม็กซ์ เว็บเบอร์ พูดไว้)

ใส่ความเห็น